Latest information

รายชื่อคำด้าน ดีเอ็นเอ ไอพีเอส สเต็มเซลล์ เซลล์อณูชีววิทยา











ไอพีเอสเซลล์ (อินดิวซ์พลูริโพ เต็มเซลล์) 
iPS cells(Induced pluripotent stem cell)  


สเต็มเซลล์จากตัวอ่อนมนุษย์ (Embryonic stem cell) 


เซลล์ร่างกาย (Somatic cell) 


เซลล์สืบพันธุ์ (Germ cell) 


การเปลี่ยนคุณสมบัติที่นิวเคลียสของเซลล์ (Reprogramming)  


ไฟโบรบลาส (Fibroblast) 


อณูชีววิทยา 
Molecular biology 


จีโนมิกส์ (Genomics)


พันธุศาสตร์ประชากร (Population genetics)


ฟีโนไทป์ (Phenotype)  


โลคัสลักษณะถ่ายทอดเชิงปริมาณ (Quantitative trait loci) 


ความเชื่อมโยงของพันธุกรรม (Genetic linkage)   


แผนที่ยีน (Gene map)  


เครื่องหมายดีเอ็นเอ (Genetic marker)  


Haplogroup D-M174 


โครโมโซม (Chromosome)  


การขดตัวของโครโมโซม (Chromosome condensation)  


การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (Meiosis)  


ทรานสคริพชันแฟคเตอร์ (Transcription factor)  


Transcription preinitiation complex 


อองโคยีน (Oncogene) 


ยีนต้านมะเร็ง (Antioncogene:Tumor suppressor gene) 


โปรตีนคอนจูเกต (Conjugated protein)  


ความผิดปกติของโครโมโซม (Chromosome abnormality) 


Growth factor 


เรติโนบลาสโตมา (Retinoblastoma)   


EGFR gene (Epidermal growth factor receptor)  


อะพอพโทซิส (Apoptosis)  


โปรตีนไคเนส (Protein kinase


Phenotypic trait 


Edman degradation 


เอนไซม์ตัดจำเพาะ (Restriction enzyme


ดีเอ็นเอเมททิลเลชั่น (DNA methylation


อีพีเจเนติกส์ (พันธุศาสตร์ด้านกระบวนการเหนือพันธุกรรม)  Epigenetics 


เซลล์ต้นกำเนิดประสาท (Neural stem cell,NSCs


การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต (Hematopoietic stem cells,HSCs


เมสเซ็นไคมอล สเต็มเซลล์ (Mesenchymal stem cell,MSCs)


วิศวกรรมเนื้อเยื่อ (Tissue engineering


DNA สามารถเพิ่มจำนวนได้โดยการจำลองตัวเอง (Self-replication)


เอนไซม์เทโลเมอเรส (Telomerase


เซลล์ยีนส์ P53 (Cellular tumor antigen p53


Retinoblastoma protein 


เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด (Hematopoietic stem cells,HSCs)


ออสทีโอบลาสต์ (Osteoblast


การยับยั้งการทำงานของโครโมโซมเอ็กซ์ (X-inactivation,lyonization


Homology 


RNA ที่ไม่สามารถแปลรหัสเป็นโปรตีนได้ (Non-coding RNA


อินเนอร์เซลล์แมส (Inner cell mass


ชีววิทยาการเจริญ (Developmental biology


โททิโพเทนซี (Totipotence


เซลล์ 3T3 (3T3 cells)


Transplant rejection 


Artificial organ 


เซลล์ไข่ Oocyte 


เทคนิค เอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน (X‐ray diffraction,XRD


การบำบัดด้วยยีน (Gene therapy


การเเพทย์เฉพาะบุคคล (Personalized medicine


โครงการจีโนมมนุษย์ (Human Genome Project,HGP


โครงการศึกษาจีโนมมนุษย์ (Genome project,โครงการจีโนมมนุษย์)


Sequence assembly 


ประกอบด้วยลำดับเบสซ้ำๆ กัน (Repeated sequence)


ยีนเทียม (Pseudogene


ซิงเกิลนิวคลีโอไทด์โพลีมอร์ฟิซึม (Single Nucleotide Polymorphism,SNP)


ดีเอ็นเอขยะ (Junk DNA,ดีเอ็นเอที่ไม่สร้างโปรตีน


เทคโนโลยีเปิดอ่านเฟรม (Open reading frame


รหัสพันธุกรรม (Genetic code






วารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์"เนเจอร์ "

http://www.nature.com/srep/2014/141022/srep06716/full/srep06716.html
เซลล์ต้นกำเนิด, เซลล์ต้นตอ หรือ สเต็มเซลล์ เป็นเซลล์ไม่จำเพาะซึ่งสามารถเจริญ ไปเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะและสามารถแบ่งตัวแบบไมโทซิสเพื่อสร้างสเต็มเซลล์เพิ่มได้ สเต็มเซลล์พบในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แบ่งสเต็มเซลล์ออกกว้าง ๆ ได้เป็นสองชนิด คือ สเต็มเซลล์จากตัวอ่อน ซึ่งแยกจากมวลเซลล์ชั้นในของตัวอ่อนระยะบลาสโตซิสท์ และสเต็มเซลล์เต็มวัย ซึ่งพบในเนื้อเยื่อหลายชนิด ในสิ่งมีชีวิตเต็มวัย สเต็มเซลล์และโปรเจนิเตอร์เซลล์ ทำหน้าที่เป็นระบบซ่อมแซมของร่างกาย โดยทดแทนเนื้อเยื่อเต็มวัย ในตัวอ่อนที่กำลังเจริญ สเต็มเซลล์สามารถเจริญไปเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะได้ทุกชนิด ทั้งเอ็กโทเดิร์ม เอ็นโดเดิร์มและเมโซเดิร์ม ทว่า ยังคงการหมุนเวียนปกติของอวัยวะที่สร้างใหม่ได้ เช่น เลือด ผิวหนังและเนื้อเยื่อลำไส้ได้อีกด้วย แหล่งที่เข้าถึงได้ของสเต็มเซลล์เต็มวัยตัวเอง ในมนุษย์มีสามแหล่ง คือ   1.ไขกระดูก ซึ่งต้องอาศัยการสกัดโดยการเก็บ นั่นคือ การเจาะเข้าไปในกระดูก (มักเป็นกระดูกต้นขาหรือสันกระดูกปีกสะโพก)  2.เซลล์ไขมัน ซึ่งอาศัยการสกัดโดยการดูดไขมัน และ  3.เลือด ซึ่งอาศัยการสกัดโดยการเจาะเอาเฉพาะส่วนประกอบหนึ่งของเลือด คือ เป็นการดึงเลือดจากผู้บริจาค (ทำนองเดียวกับการบริจาคเลือด) และผ่านเข้าเครื่องซึ่งแยกสเต็มเซลล์และคืนเลือดส่วนอื่นคืนให้ผู้บริจาค สเต็มเซลล์ยังได้มาจากเลือดสายสะดือไม่นานหลังคลอด ในบรรดาสเต็มเซลล์ทุกชนิด การเก็บจากตัวเองมีความเสี่ยงน้อยที่สุด ตามนิยาม คือ เก็บเซลล์จากร่างกายของตนเอง แบบเดียวกับที่เก็บสำรองเลือดของตนไว้ตามกระบวนการผ่าตัดแบบไม่เร่งด่วน  สเต็มเซลล์เต็มวัยใช้ในการรักษาทางการแพทย์บ่อยครั้ง ตัวอย่างเช่นในการปลูกถ่ายไขกระดูก ปัจจุบัน มนุษย์สามารถเพาะเลี้ยงสเต็มเซลล์ได้และให้เจริญเปลี่ยนเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะโดยมีคุณสมบัติเข้ากันกับเซลล์ของเนื้อเยื่อหลายชนิด อย่างกล้ามเนื้อหรือเส้นประสาท มีการเสนอว่าเซลล์ไลน์ตัวอ่อนและสเต็มเซลล์ตัวอ่อนของตนเองที่ถูกสร้างผ่านการโคลนเพื่อการรักษาเป็นทางเลือกที่มีโอกาสสำหรับการรักษาในอนาคต การวิจัยเรื่องสเต็มเซลล์มีที่มาจากการค้นพบโดย แห่ง หาวิทยาลัยโตรอนโตในคริสต์ทศวรรษ 1960 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น