Latest information

แฮมเบอร์เกอร์ สเต็มเซลล์ มหาวิทยาลัยมาสทริชท์ เนเธอร์แลนด์


เบอร์เกอร์เนื้อเทียม จากสเต็มเซลล์ชิ้นแรกของโลก



 มหาวิทยาลัยมาสทริชท์







First-ever public tasting of lab-grown Cultured Beef burger 

http://www.maastrichtuniversity.nl/web/Main/Research/ResearchUM/FirsteverPublicTastingOfLabgrownCulturedBeefBurger.htm





Cultured Beef - A first step towards sustainable meat production  
http://culturedbeef.net/

ชีวิตจริงยิ่งกว่านิยายไซ-ไฟ ... นักวิทยาศาสตร์ดัตช์พร้อมเสิร์ฟเบอร์เกอร์เนื้อวัวที่ได้จากการเพาะเลี้ยงสเต็มเซลล์ในแล็บ ชี้ใช้พลังงานน้อย ใช้พื้นที่น้อยกว่า แล้วยังปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่าวิถีเลี้ยงวัวแบบเดิมๆ  



Stem cell burger: Maastricht University develops hamburger grown from stem cells of cattle 

Synthetic foods are increasingly touted as the future of comestibles. But the technology has rapidly outstripped consumer interest. How do you push progress that makes people squirm? 

This Test-Tube Burger Could Literally Save The World 

Lab-grown meat is first step to artificial hamburger 

Dutch team from Maastricht University preparing first-ever lab-grown hamburger 

Bloody Veggie Burger Looks Like the Real Thing 

Food Fight: Give Synthetic Meat a Chance 

The five food trends of the future 

Red meat is destroying the planet, and the Frankenburger could help save it 


Technological advancements may have saved us once during the Green Revolution, but will they be able to deal with the food challenges of tomorrow? Sim Shuzhen investigates.    



บีบีซีนิวส์รายงานว่ากำหนดแถลงข่าวที่ลอนดอนในวันจันทร์ตามเวลาท้องถิ่นของทีมนักวิทยาศาสตร์จากเนเธอร์แลนด์ที่เพาะเลี้ยงเนื้อวัวในห้องปฏิบัติการจะเสิร์ฟเบอร์เกอร์จากเนื้อดังกล่าวให้ชิมเป็นครั้งแรกของโลก พร้อมกันนี้สำนักข่าวอังกฤษยังส่งผู้ข่าวไปเยือนถึงห้องแล็บดังกล่าว งานวิจัยนี้นำโดย ศ.มาร์ค โพสต์ จากมหาวิทยาลัยมาสทริคท์ ภายใต้โครงการมูลค่านับ 10 ล้านบาท ซึ่งได้นำเอาเซลล์จากวัวแล้วเปลี่ยนให้เป็นริ้วกล้ามเนื้อซึ่งนำมารวมกันเป็นก้อนเนื้อได้ ทีมวิจัยกล่าวว่าเทคโนโลยีนี้จะเป็นหนทางที่ยั่งยืนเมื่อเผชิญความต้องการเนื้อสัตว์ที่กำลังเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่นักวิจารณ์โต้แย้งว่า การกินเนื้อให้น้อยลงเป็นวิธีง่ายกว่าในการรับมือการขาดแคลนอาหารตามที่คาดการณ์กันไว้ "เรากำลังจะแสดงให้โลกเห็นแฮมเบอร์เกอร์ชิ้นแรกที่ผลิตขึ้นจากเซลล์ในห้องแล็บ เราทำเรื่องนี้เพราะการผลิตปศุสัตว์ไม่เป็นผลดีต่อสิ่งแวดล้อม มันไม่อาจตอบสนองความต้องการเนื้อของโลกได้ และก็ไม่ดีสำหรับสัตว์" ศ.โพสต์กล่าว ในขณะที่นักวิทยาศาสตร์และสถาบันอื่นๆ ขวนขวายที่ผลิตเนื้อเยื่อมนุษย์จากสเต็มเซลล์เพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหร่อในร่างกาย แต่ ศ.โพสต์กลับปรารถนาในสิ่งที่แตกต่าง เขาใช้เทคนิคคล้ายๆ กันเพื่อเพาะเลี้ยงกล้ามเนื้อและไขมัน สำหรับผลิตเป็นอาหาร เขาเริ่มจากสกัดเอาสเต็มเซลล์จากเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อวัว และในห้องปฏิบัติการเซลล์เหล่านี้ได้รับการเพาะเลี้ยงด้วยสารอาหารเคมีเพื่อช่วยให้เซลล์เติบโตและเพิ่มจำนวน สามอาทิตย์หลังจากนั้นก็มีสเต็มเซลล์เป็นล้านเซลล์ ซึ่งจะถูกนำไปใส่ในจานเพาะเลี้ยงเล็กๆ ที่เซลล์เชื่อมติดกันกลายเป็นริ้วกล้ามเนื้อประมาณ 1 เซ็นติเมตร และหนาไม่กี่มิลลิเมตร จากนั้นริ้วกล้ามเนื้อจะถูกรวมเข้าในถาดหลุมที่ถูกแช่แข็ง เมื่อได้จำนวนที่มากพอ ก็จะถูกนำมาละลายและอัดเป็นก้อนเนื้อก่อนที่จะถูกนำไปปรุงอาหารต่อไป นักวิทยาศาสตร์พยายามผลิตเนื้อดังกล่าวให้เหมือนเนื้อจริงมากที่สุด แม้ในเบื้องต้นพวกเขาจะได้เนื้อที่เป็นสีขาว เฮเลน บรีวูด ซึ่งทำงานร่วมกับ ศ.โพสต์ ได้ทำให้กล้ามเนื้อเพาะเลี้ยงมีสีแดง ด้วยการเติม "ไมโอโกลบิน" สารประกอบที่เกิดตามธรรมชาติ ที่มีอยู่ในเซลล์กล้ามเนื้อของสัตว์มีระดูกสันหลัง และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป โดยเธอบอกว่าหากทำไม่เหมือน และรสชาติไม่คล้ายเนื้อวัว ก็ไม่ใช่ตัวเลือกที่จะมาแทนที่ได้ ทว่าในมุมของ ศ.ทารา การ์เนตต์ หัวหน้าเครือข่ายวิจัยนโยบายอาหาร มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด กล่าวว่า ผู้มีอำนาจตัดสินใจควรจะอะไรให้ไกลกว่าการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยี โดยเธอบอกว่าตอนนี้เราอยู่ในสถานการณ์ที่คนในโลก 1.4 พันล้านคนมีปัญหาน้ำหนักเกินและเป็นเบาหวาน ขณะเดียวกันก็มีประชาชทั่วโลกอีกนับพันล้านคนที่เข้านอนพร้อมความหิวโหย "เทคโนโลยีนี้เป็นแค่ของแปลกและยอมรับไม่ได้ การแก้ปัญหาไม่ควรตั้งอยู่บนพื้นฐานการผลิตอาหารให้มากขึ้น แต่ควรเปลี่ยนระบบแจกจ่ายและการเข้าถึงอาหาร และความสามารถในการจัดหาอาหารไม่ใช่เพียงเพื่อให้ได้อาหารมากขึ้น แต่ต้องจัดหาอาหารที่ดีแก่ผู้ที่ต้องการมัน" ศ.การ์เนตต์กล่าว University graduate school college study abroad Animal husbandry Cattle are the most common type of large domesticated ungulates. They are a prominent modern member of the subfamily Bovinae, are the most widespread species of the genus Bos, and are most commonly classified collectively as Bos taurus. Cattle are raised as livestock for meat (beef and veal), as dairy animals for milk and other dairy products, and as draft animals. Other products include leather and dung for manure or fuel. In some regions, such as parts of India, cattle have significant religious meaning. From as few as 80 progenitors domesticated in southeast Turkey about 10,500 years ago, according to an estimate from 2003, there are 1.3 billion cattle in the world. In 2009, cattle became the first livestock animal to have a fully mapped genome.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น